พระพิฆเณศ
อินเดีย ประเทศอินเดีย รูปพระพิฆเนศ รูปภาพ งานศิลปะ พระพิฆเนศ
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกพระพิฆเนศ

"ลัทธิของฮินดู"
ขอขอบพระคุณ : หนังสือ "ศาสนาโลก"
เขียนโดย ธนู แก้วโอภาส / สำนักพิมพ์สุขภาพใจ

ลัทธิของฮินดู

จุดมุ่งหมายของการเคารพ พระเจ้าและสิ่งต่างๆ ทั้งมวลที่มีความเกี่ยวข้องกับพระเจ้าในทั้ง 6 นิกายของฮินดู รวมทั้งการจาริกไปยังสถานศักดิ์สิทธิ์ ก็เพื่อหลุดพ้น ชาวฮินดูเรียกการหลุดพ้นว่า "โมกษะ" หรือความเป็นเสรีไม่ต้องกลับมาเกิดอีก การเกิดอีกในรูปใดๆก็ตามนักปราชญ์ของฮินดูถือว่าเป็นสิ่งไม่พึงปรารถนา ทุกๆคนจึงต้องพึ่งศาสนาเป็นทาง หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด การทำให้วิญญาณมีความเสรีไปรวมกับปรมาตมันมีหลายวิถีในความรู้สึกนึกคิด ด้วยเหตุนี้จึงมีแนวทางปฏิบัติแตกต่างกันไปตามแต่ความต้องการ ไม่ให้มีการเกิดใหม่ของวิญญาณมีอยู่ทั่วไปในความรู้สึกของชาวฮินดู

ชาวฮินดูไม่เชื่อว่าชีวิตของมนุษย์โลกมีอยู่เพียงครั้งเดียว เมื่อคนหนึ่งตายไป วิญญาณจะเดินทางออกไปจากร่างกาย หลังจากนั้นวิญญาณจะกลับมาเกิดอีก ส่วนจะเกิดใหม่ในรูปใดนั้นย่อมแล้วแต่การกระทำของผู้นั้น เช่น หญิงคบชู้จะเกิดใหม่เป็นสุนัขจิ้งจอก เมื่อผิดประเวณีจะเกิดเป็นกา ส่วนคนที่เคร่งครัดทางศาสนาจะเกิดเป็นกษัตริย์ กฎแห่งกรรมมีเรื่องรายละเอียดของบาปทั้งหมด ซึ่งมีผลกระทบถึงการเกิดใหม่ ซึ่งบางเรื่องมีความละเอียดมาก ส่วนผู้ที่มีความรู้มากในเรื่องนี้เมื่อมองดูคนหนึ่งๆ ก็จะทราบได้ชัดว่าชาติก่อนนั้นบุคคลผู้นั้นเคยทำอะไรไว้ คนที่เคร่งศาสนาเท่านั้นจึงจะบรรลุโมกษะ แต่คนส่วนมากกลับมาเกิดอีก เพื่อเก็บเกี่ยวผลแห่งการกระทำของตนในชีวิตนี้ อย่างไรก็ดีคนที่จะมาเกิดใหม่ไม่จำเป็นต้องมาเกิดในโลกนี้ เขาอาจมาเกิดใหม่ในทั้ง 14 โลก หรือไปเกิดเป็นพระเจ้าเป็นยักษ์หรือเป็นนาค ชาวฮินดูมีทัศนคติในเรื่องการเกิดและการตายว่าเหมือนการเปลี่ยนเสื้อผ้าของวิญญาณ

หลักเกณฑ์เรื่องวิญญาณที่ชาวฮินดูเชื่อกันอยู่ในปัจจุบัน ไม่มีอยู่ในคัมภีร์พระเวท เพราะแนวคิดเรื่องชีวิตหลังความตายในคัมภีร์พระเวทคือสถานที่สุขสำราญของผู้กระทำความดี แต่วิญญาณของผู้มีความชั่วร้ายจะถูกทำลายไป เมื่อแนวความคิดใหม่ในเรื่องกฎเกณฑ์ของวิญญาณฮินดูได้รับความนิยม บรรดานักปราชญ์จึงพบกับความยุ่งยากในการเอาแนวความคิดที่มีอยู่เดิมในคัมภีร์พระเวท กับหลักการของวิญญาณในทฤษฎีใหม่ให้ลงรอยกันได้ จึงให้วิญญาณเดินทางออกไปจากร่างกายแล้ววิญญาณจะเดินทางไปพบกับพญายม เทพเจ้าแห่งความตายหรือพญามัจจุราช วิญญาณจะถูกพิพากษา ภายหลังที่วิญญาณอยู่ในสวรรค์หรือนรกชั่วคราวตามคำพิพากษาแล้ว จึงจะกลับมาเกิดใหม่

ตามความเชื่อในปัจจุบันของชาวฮินดู วิญญาณที่ออกจากร่างไปจะไปปรากฎที่ยมบุรี ศาลของพยายม มีพญาจิตรคุปตะผู้ทำบัญชีของพญายมอ่านประวัติการกระทำความผิดของตน พญายมจะอ่านคำพิพากษา ถ้าวิญญาณถูกลงโทษ คนรับใช้ของพญายมจะนำตัวไปลงโทษในนรกแห่งหนึ่งหรือหลายแห่ง นรกของชาวฮินดูไม่ใช่สถานที่ที่มีแต่ความทุกข์ทรมานไม่มีที่สิ้นสุด มันเหมือนเป็นสถานที่ชำระวิญญาณ เมื่อครบกำหนดการลงโทษแล้ว วิญญาณจะถูกนำไปสู่สวรรค์เพื่อความสุขสำราญเป็นรางวัลต่อการกระทำความดีในขณะมีชีวิตอยู่บนโลก หรือไม่ก็อยู่ในสวรรค์โดยไม่มีกำหนด ถ้าหากว่าวิญญาณขณะมีชีวิตอยู่ในโลกได้บำเพ็ญความเพียรพยายามหาทางบรรลุโมกษะอย่างต่อเนื่อง

ในสังคมของอินเดียมีนักปราชญ์ผู้มีความรู้อยู่มากมาย บางสำนักสอนปรัชญาแห่งการกระทำและหน้าที่อันสูงส่งว่าเป็นวิถีทางแห่งการหมดทุกข์ของมนุษย์ ซึ่งเรียกว่าปรัชญาคุณค่าแห่งชีวิตตามแนวทางของศาสนาฮินดู


คุณค่าแห่งชีวิต

ความจริงศาสนาฮินดูตระหนักถึงคุณค่า 4 ประการสำคัญของชีวิต คือ ความมั่งคั่ง ความสุขสำราญ (ความต้องการ ความรัก ความพึงพอใจ) คุณธรรมทางด้านจริยธรรม (ธรรมะหน้าที่) และ เสรีภาพปราศจากความทุกข์ (โมกษะ)

เรื่องนี้จะเห็นได้ในกฎมนูธรรมศาสตร์ ความมั่งคั่งไม่ใช่ความต้องการเพื่อความมั่งคั่งเอง แต่เพื่อความสุขสำราญของชีวิต ความสุขสำราญนั้นไม่ใช่เพื่อความสุขสำราญเอง แต่คนเราต้องการเอาความมั่งคั่งจ่ายหนี้ 3 ประการกลับคืน เอาความมั่งคั่งสมบูรณ์ทำให้เพื่อนและชีวิตมีความสุขสำราญในการปฏิบัติตามคุณธรรม และคุณธรรมทางจริยธรรม มีไว้เพื่อการหลุดพ้นความทุกข์ทั้งปวง

คุณธรรมทางจริยธรรมเป็นวิถีทางไปสู่ความหลุดพ้น มีเสรีภาพปราศจากความทุกข์ทั้งมวล คุณธรรมจริยธรรมคือวิถีสูงส่งในการกำหนดอนาคตของมนุษย์รวมทั้งชีวิตในอนาคต อย่างไรก็ดีปรัชญาเช่นนี้ได้แนะนำไม่ใช่บังคับว่า มนุษย์ควรเอาคุณธรรมทางจริยธรรมเพื่อความหลุดพ้น (วิญญาณมีความเสรีปราศจากความทุกข์) ไม่ใช่เพื่อการเกิดใหม่ในอนาคต กฎมนูธรรมศาสตร์จึงเป็นกฎคุณธรรมทางจริยธรรม 4 ประการแห่งความหลุดพ้นความทุกข์ของวิญญาณในปรัชญาสมัยใหม่ของศาสนาฮินดู

ขอขอบพระคุณ : บทความจาก "ศาสนาโลก"
เขียนโดย ธนู แก้วโอภาส
สำนักพิมพ์สุขภาพใจ

คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกประเทศอินเดียและพระพิฆเนศ


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ เรื่องร่างทรง ]
เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระคเณศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.