พระพิฆเณศ
รูปพระพิฆเนศ
อ่านเรื่องเทพเจ้าของพราหมณ์-ฮินดูได้อีกมากมาย!!
"พระพฤหัสบดี" พระประจำวันเกิด (นวนพเคราะห์)
พระประจำวันพฤหัสบดี เทพนพเคราะห์ ดาวนพเคราะห์
พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์) , พระจันทร์ , พระอังคาร , พระพุธ , พระพฤหัสบดี , พระศุกร์ , พระเสาร์ , พระราหู

ตำนานพระพฤหัสบดี
โดย : สยามคเณศ

พระพฤหัสบดี เป็นครูแห่งเทวดาทั้งหลาย (ปุโรหิต) ตามไตรเพทว่าเป็นองค์เดียวกับพระอัคนี เทพแห่งไฟ อีกตำราว่าเป็นฤาษีโอรสพระอังคีรสพรหมบุตร (อังคิรสมุนี) กับนาง สมปฤดี

ตำราพระอิศวรกล่าวว่า พระศิวะเจ้าได้สร้างพระพฤหัสบดีขึ้นมา โดยนำฤษี 19 ตน มาป่นให้ละเอียดเป็นผง ห่อด้วยผ้าสีเหลือง ร่ายพระคาถาศักดิ์สิทธิ์ ห่อผ้านั้นก็กลายเป็นพระพฤหัสบดี เทพบุตรผู้ปรากฎเป็นฤาษี กายสีแสด ทรงกระดานชนวน ลูกประคำ อาภรณ์ประดับด้วยแก้วบุษราคัม ทรงกวางเป็นพาหนะ เป็นเทพแห่งปัญญา เทพแห่งครู วันพฤหัสบดีจึงถือเป็นวันครู (วันไหว้ครูของไทย)

พระพฤหัสบดี มีพระชายาคือ นางมมตา พระโอรสคือ ตาระ ซึ่งภายหลังได้เป็นทหารเอกของพระรามในรามเกียรติ์หรือรามายณะ ชายาของพระพฤหัสบดีอีกองค์หนึ่งคือ นางดารา ซึ่งถูกพระจันทร์ลักพาไปเป็นชายาจนมีบุตรด้วยกันคือ พระพุธ (อ่านได้จากเรื่อง พระจันทร์และพระพุธ)

วิธีบูชาพระพฤหัสบดี ผู้เกิดวันอื่นๆ ก็บูชาเทวดาองค์นี้ได้เช่นกัน

ผู้บูชาพระพฤหัสบดี จะได้รับพรด้านความมีปัญญา ฉลาดหลักแหลม การศึกษาเล่าเรียนจะเป็นไปอย่างราบรื่น
พระพฤหัสบดีจะประทานความมีเกียรติในสังคม การได้รับความไว้วางใจเคารพนับถือจากผู้อื่น

พระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีคือ ปางสมาธิ

คาถาบูชาพระพฤหัสบดี
ไหว้แบบไทย สามารถทำตามเคล็ดวิชาการบูชาของไทยโบราณได้
คือ ถ้าบูชาประจำวันปกติใช้ธูป 3 หรือ 5 ดอก
หากบวงสรวง ขอพรในกรณีพิเศษ ฤกษ์ที่ดีที่สุดคือวันพฤหัสบดี ให้ใช้ธูป 19 ดอก (ตามกำลังเทพนพเคราะห์)

บูชาพระพฤหัสบดี ด้วย คาถานารายณ์ตวาดป่าหิมพานต์
ภะ สัม สัม วิ สะ เท ภะ
สวดตามกำลังเทพพระพฤหัสบดี คือ 19 จบ
(บทสวดนี้ได้มาจากบทสรรเสริญพระพุทธคุณ เรียกว่า พระคาถาอิติปิโสแปดทิศ)

บทสวดบูชาพระพฤหัสบดี
อิติปิโส ภะคะวา พระพฤหัสบดีจะมัสมิง
จะ พุทธะคุณัง จะ ธัมมะคุณัง จะ สังฆะคุณัง
สัพพะทุกขัง สัพพะภะยัง สัพพะโรคัง วิวัชชะเย
สัพพะลาภัง ภะวันตุเม



บทสวดบูชาพระพุทธรูปปางสมาธิ พระประจำวันพฤหัสบดี
ปูเรนตัมโพธิสัมภาเร นิพพัตตัง โมระโยนิยัง
เยนะ สังวิหิตารักขัง มหาสัตตัง วะเนจะรา
จิรัสสัง วายะมันตาปิ เนวะ สักขิงสุ คัณหิตุง
พรัหมะมันตันติ อักขาตังปะริตตันตัม ภะณามะ เหฯ

ประวัติย่อพระพุทธรูปปางสมาธิ
ในเช้าของคืนวันที่จะตรัสรู้นั้น พระโพธิสัตว์สิตธัตถะ หลังเสวยข้าวมธุปายาสที่นางสุชาดานำมาถวายแล้ว ก็ได้ทรงอธิษฐานเสี่ยงทายถาดทองคำที่แม่น้ำเนรัญชรา แล้วประทับยับยั้งอยู่ที่นั้นจนตะวันบ่ายคล้อยเสด็จกลับมายังต้นพระศรีมหา โพธิ์ ในระหว่างทาง ได้ทรงรับหญ้าคา 6 กำมือ จากโสตถิยะพราหมณ์ จึงนำมาปูลาด ณ ใต่ต้นไม่ พระศรีมหาโพธิ์แทนบัลลังก์ แล้วขึ้นประทับนั่งผันพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออก ผันพระปฤษฏางค์ ให้ลำต้นพระศรีมหาโพธิ์ แล้วจึงทรงอธิษฐานพระทัยว่า จักไม่ลุกจากบัลลังก์นี้ ตามใดที่ยังไม่ได้บรรลุพระสัมโพธิญาณ แม้ว่าเนื้อและเลือดจะเหือดแห้งไปจนเหลือเพียงหนังหุ้มกระดูกก็ตามทีหลังจาก อธิษฐานจิตพระองค์ก็ได้เผชิญกับการทำสงครามกับพญามาราธิราชพร้อมเสนาหมู่ ใหญ่ แต่พระองค์ก็สามารถเอาชนะได้ด้วยพระบารมีต่างๆก่อนที่พระอาทิตย์จะอัสดงคต เล็กน้อย จากนั้นก็ได้เจริญภาวนาจนได้บรรลุพระญาณต่างๆ ไปตามลำดับ คือ
1.ในปฐมยาม ทรงบรรลุบุพเพนิวาสานุสสติญาณ สามารถระลึกชาติในอดีตได้เป็นเหตุให้ทรงยั่งรู้อัตตภาพขันธสังขารต่างที่ ประกอบกันขึ้นและดับไปนับครั้งไม่ถ้วน ทำให้ทรงกำจัดความหลงในขันธ์อันเป็นเหตุรักหรือขังเสียได้โดยสิ้นเชิง
2.ในมัชฌิมยาม ทรงบรรลุจุตูปปาตญาณ หรือ ทิพพจักษุ สามารหยั่งรู้การเกิดการตายตลอดถึงสาเหตุที่ทำให้สรรพสัตว์ต้องเวียนว่ายตาย เกิดในรูปแบบต่างๆ กันออกไปก็ด้วยอำนาจกรรมที่แตกต่างกัน เป็นผลให้ทรงกำจัดความหลง ในคติแห่งขันธ์อันเป็นเหตุสำคัญผิดด้วยประการต่างๆ ได้
3.ในปัจฉิมยาม ทรงบรรลุอาสวักขยญาณ สามารถกำจัดอาสวักกิเลสน้อยใหญ่ทั้งมวลได้สิ้นเชิงด้วยพระปัญญารู้แจ้งความ จริงอันประเสริฐและเข้าใจชัดแจ้งถึงสายโซ่แห่งชีวิตที่เกิดดับ โดยความอาศัยกันและกัน แห่งเหตุปัจจัย หรือปฏิจจสมุทปบาทธรรมทำให้ทรงได้ชีวิตใหม่ บรรลุอนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ กลายเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้มีพระญาณอันหมดจดวิเศษเหนื่อยกว่ามนุษย์ และทวยเทพทั้งมวล
ภายหลังจากตรัสรู้ พระองค์ก็ได้ประทับนั่งเสวยวิมุติสุขและพิจารณาปฏิจจสมุปบาทธรรมตลอด 7 วัน ณ ควงไม้พระศรีมหาโพธิ์ โดยมิได้เสด็จลุกไปไหนด้วยเหตุอัศจรรย์ดังกล่าว ภายหลังจึงมีการสร้างพระพุทธรูปปางสมาธิขึ้นไว้เป็นอนุสติและกลายมาเป็นปาง พระพุทธรูปบูชา สำหรับ ผู้ที่เกิดในวันพฤหัสบดี

พระศิวะมหาเทพ ผู้สร้างเทพนพเคราะห์ทุกองค์ขึ้น (นวนพเคราะห์)
จากการป่นสิ่งต่างๆเป็นผงแล้วเสกด้วยมหามนตรา



เชิญสักการะเทพนพเคราะห์ได้ที่แท่นบูชา "นวนพเคราะห์"
ณ วัดวิษณุ ยานนาวา ชมวัดวิษณุคลิกที่นี่




พระอาทิตย์
เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง ก้าวร้าวรุนแรงเฉียบไว
พระประจำวันอาทิตย์ พระอาทิตย์เป็นมิตรกับพระพฤหัสบดี และเป็นศัตรูกับพระอังคาร
พระอาทิตย์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 1 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากราชสีห์ 6 ตัวนี้เอง
จึงทำให้มีกำลังพระเคราะห์เป็น 6 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอาทิตย์ก็คือ ปางถวายเนตร



พระจันทร์
เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง นุ่มนวลอ่อนโยน
พระประจำวันจันทร์ พระจันทร์เป็นมิตรกับพระพุธ และเป็นศัตรูกับพระพฤหัสบดี
พระจันทร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 2 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากนางฟ้า 15 องค์
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 15 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันจันทร์ก็คือ ปางห้ามสมุทร


พระอังคาร เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง รุนแรงและกำลังเร่าร้อน
พระประจำวันอังคาร พระอังคารเป็นมิตรกับพระศุกร์ และเป็นศัตรูกับพระอาทิตย์
พระอังคารถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 3 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากมหิงสา 8 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 8 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคารก็คือ ปางไสยาสน์ และ ปางลีลา


พระพุธ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง อ่อนโยนไพเราะสุขุม
พระประจำวันพุธกลางวัน พระพุธเป็นมิตรกับพระจันทร์ และเป็นศัตรูกับพระราหู
พระพุธถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 4 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคชสาร 17 เชือก
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 17 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธก็คือ ปางอุ้มบาตร


พระพฤหัสบดี เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง เมตตากรุณา
พระประจำวันพฤหัส พระพฤหัสบดีเป็นมิตรกับพระอาทิตย์ และเป็นศัตรูกับพระจันทร์
พระพฤหัสบดีถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 5 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากฤษี 19 ตน
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 19 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพฤหัสบดีก็คือ ปางสมาธิ


พระศุกร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท ศุภเคราะห์ ให้ผลในทาง อ่อนหวานแจ่มใส
พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์เป็นมิตรกับพระอังคารและเป็นศัตรูกับพระเสาร์
พระศุกร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 6 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากคาวี 21 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 21 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันศุกร์ก็คือ ปางรำพึง


พระเสาร์ เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง แข็งแกร่ง
พระประจำวันเสาร์ พระเสาร์เป็นมิตรกับพระราหูและเป็นศัตรูกับพระศุกร์
พระเสาร์ถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 7 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากพยัคฆ์ 10 ตัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 10 สำหรับพระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันเสาร์ก็คือ ปางนาคปรก


พระราหู เป็นเทวดานพเคราะห์ประเภท บาปเคราะห์ ให้ผลในทาง ลุ่มหลงมัวเมา
พระประจำวันพุธกลางคืน พระราหูเป็นมิตรกับพระเสาร์และเป็นศัตรูกับพระพุธ
พระราหูถูกแทนด้วยสัญลักษณ์ 8 และด้วยเหตุที่สร้างขึ้นมาจากหัวกะโหลก 12 หัว
จึงมีกำลังพระเคราะห์เป็น 12 พระประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันพุธกลางคืนคือ ปางป่าเลไลย์


การบูชาเทพนพเคราะห์และพระประจำวันเกิด
พระประจำวันอาทิตย์ , พระประจำวันจันทร์ , พระประจำวันอังคาร
พระประจำวันพุธ , พระประจำวันพฤหัสบดี , พระประจำวันศุกร์ , พระประจำวันเสาร์ , พระประจำวันพุธกลางคืน พระราหู


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ เรื่องร่างทรง ]
เรื่องร่างทรง 1 - เตือนใจเรื่องร่างทรง มารสังคมที่ต้องระวัง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 2 - คนมีองค์ กับ ร่างทรง ต่างกันอย่างไร ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 3 - ร่างทรงกำลังทรงเจ้า หรือกำลังโดนผีสิง ? (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 4 - การรับขันธ์ อันตรายถึงชีวิต! (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 5 - ตอบคำถามร่างทรง (รับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ การทรงเจ้า องค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 6 - ถอนขันธ์ ลาขันธ์ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้าองค์เทพ)
เรื่องร่างทรง 7 - รวมข่าวร่างทรงถูกจับ (การรับขันธ์ ร่างทรง ตำหนักทรง มีองค์ คนมีองค์ คนทรงเจ้า องค์เทพ)

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.