มูลนิธิพระพิฆเนศ มูลนิธิพระพิฆเณศ
มูลนิธิพระพิฆเณศวร์ พระพิฆเนศวร์ พระครูญาณสยมภูว์ พราหมณ์ขจร นาคะเวทิน โบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
คลิกที่นี่เพื่อกลับไปหน้าแรกพระพิฆเนศ

"มูลนิธิพระพิฆเนศ"

ความเป็นมาของมูลนิธิพระพิฆเนศ

ด้วยความตระหนักถึงปัญหาของคนในสังคมว่ายังมีผู้ด้อยโอกาสเป็นจำนวนมากที่ต้อง การความช่วยเหลือจากผู้อยู่ในสถานะที่ดีกว่า พราหมณ์ขจรนาคะเวทิน จึงคิดหาวิธที่จะเข้าไปช่วยเหลือสังคมในขีดความสามารถที่จะทำได้ ซึ่งในที่สุดได้นำมาสู่การก่อตั้งมูลนิธิพระพิฆเนศ เมื่อเดือนตุลาคม พุทธศักราช 2537 โดยมี พราหมณ์ขจร นาคะเวทิน อยู่ในฐานะผู้ก่อตั้ง มีวัตถุประสงค์ ดังนี้

1.เพื่อช่วยหลือเด็กยากจน ให้มีโอกาสได้พัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น

2.ให้ทุนการศึกษาแก่เด็กนักเรียนยากจน ซึ่งมีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ปานกลางและมีความประสงค์จะรับการศึกษาในชั้นที่สูงขึ้น

3.ส่งเสริม สนับสนุน และสงเคราะห์การบรรเทาสาธารณภัย

4.ดำเนินการหรือร่วมมือกับองค์กรกุศลอื่นๆเพื่อกิจกรรมทางศาสนา การสังคมสงเคราะห์และสาธรณประโยชน์

5.ไม่ดำเนินการเกี่ยวข้องกับการเมือง

สำคัญเพื่อช่วยเหลือเด็กยากจนให้มีโอกาสได้พัฒนาชีวิตให้ดีขึ้น ด้วยการสนับสนุนด้านทุนการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

งานมอบ ทุนการศึกษาได้เริ่มขึ้นครั้งแรก เมื่อวันที่ 7 ตุลาตม 2537 โดยในปีแรกนี้ ได้ดำเนินการมอบทุนให้โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานคร รวม 59 โรงเรียน โรงเรียนละ 10,000 บาท เพื่อให้ทางโรงเรียนนำไปใช้ประโยชน์ในการจัดกิจกรรมทางด้านการศึกษา และมอบเป็นทุนการศึกษาแก่นักเรียนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และจากนั้นเป็นต้นมาก็ได้จัดให้มีการมอบทุนการศึกษาเป็นประจำทุกปี กล่าวคือ ปีพุทธศักราช 2538 เริ่มจัดมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนโดยตรง โดยได้รับความร่วมมือจากโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล คัดเลือกนักเรียนที่ประสบปัญหาขาดแคลนทุนทรัพย์ ซึ่งกำลังรับการศึกษาอยู่ในระดับประถมศึกษาตอนปลายและจะสอบเข้ารับการศึกษา ต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 161 ทุน แบ่งเป็นทุนละ 3,000 บาท เป็นจำนวน 86 ทุนและทุนละ 1,000 บาท จำนวน 75 ทุนโดยนักเรียนเหล่านี้ มีผลการเรียนในระดับปานกลางขึ้นไปและมีความประสงค์จะรับการศึกษาต่อ แต่ประสบปัญหาด้านทุนทรัพย์

การ ที่มูลนิธิฯ มอบทุนการศึกษาให้นักเรียนโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครนั้น เป็นเจตนารมณ์ที่จะจัดดำเนินการให้ครบทุกโรงเรียนโดยแบ่งมอบให้ปีละประมาณ 100 ทุนขึ้นไป

จน ถึงปีพุทธศักราช 2539 ทางมูลนิธิฯ ได้เริ่มให้ทุนการศึกษาต่อเนื่องทุนละ 3,000 บาท แก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 10 คน ที่ได้รับการคัดเลือกไว้ โดย ดูจากผลการเรียนที่อยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี และในปีเดียวกันยังได้มอบทุนการศึกษาให้กับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ศึกษาอยู่ในโรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ซึ่งสอบเข้ารับการศึกษาในระดับอุดมศึกษาในมหาวิทาลัยของรัฐ หรือเทียบเท่าทุนละ 5,000 บาท เป็นจำนวน 69 ทุน อีกด้วย โดยใช้เกณฑ์พิจารณาเช่นเดียวกับระดับมัธยมศึกษา กล่าวคือ ผู้รับทุนต้องเป็นผู้ประสบปัญหาด้านการเงิน และมีผลการเรียนระดับปานกลางขึ้นไป และนิสิตนักศึกษาในกลุ่มนี้จะได้รับทุนการศึกษาต่อเนื่องจนสำเร็จการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษา นอกจากนั้นยังได้เพิ่มเงินทุนการศึกษาเป็นทุนละ 10,000 บาท ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2541 เป็นต้นมา

มิ ใช่เพียงทุนการศึกษาต่อเนื่อง ทั้งในระดับมัธยมศึกษาและระดับอุดมศึกษาเท่านั้น หากแต่ยังมีการมอบทุนการศึกษาประจำปี ทุนละ 3,000 บาท แก่นักเรียนระดับประถมศึกษาตอนปลายซึ่งกำลังสอบเข้ารับการศึกษาต่อในระดับ มัธยมศึกษาอีกจำนวน 132 ทุน ส่งผลให้ปีพุทธศักราช 2539 เป็นปีแรกที่มีผู้เข้ารับมอบทุนการศึกษา ครบทั้ง 3 ระดับชั้นการศึกษา คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษา และระดับอุดมศึกษา และในปีพุทธศักราช 2540 ได้มีผู้รับมอบทุนทั้ง 3 ระดับ เพิ่มจากปีพุทธศักราช 2539 เป็น 331 คน แบ่งเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่จบจากโรงเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานครที่ได้รับการเสนอชื่อเข้ามาใหม่จำนวน 113 คน นักเรียนทุนระดับมัธยมศึกษาที่มีอยู่เดิม 149 คน และระดับอุดมศึกษา 69 คน

ใน ปีพุทธศักราช 2541 มีนักเรียนและนักศึกษาเข้ารับทุนการศึกษา จำนวน 284 ทุน แบ่งเป็นทุนละ 3,000 บาท 215 ทุน ในจำนวนนี้มีนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดกรุงเทพมหานคร ที่เข้าศึกษาต่อระดับมัธยมศึกษา จำนวน 27 ทุน นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-4 จำนวน 188 ทุน และทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับอุดมศึกษา รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 69 ทุน นอกจากนั้นยังได้มอบเป็นเงินทุนเฉพาะกิจ ให้แก่องค์กรและบุคคล อีกรวมเป็นเงิน 80,000 บาท

สำหรับ ปีพุทธศักราช 2542 มูลนิธิฯ เริ่มพิจารณาจัดกิจกรรมมอบทุนการศึกษาทุนละ 1,000 บาท แก่นักเรียนในพื้นที่จังหวัดลพบุรีเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่ง นับเป็นครั้งแรกที่จัดมอบทุนการศึกษาในส่วนภูมิภาค รวมจำนวน 109 ทุน นอกจากนี้ยังได้ถวายทุนเฉพาะกิจแด่พระภิกษุที่สอบได้นักธรรมเอก และสามเณรที่สอบได้นักธรรมโท อีก 3 ทุน แบ่งเป็นทุนละ 3,000 บาท 1 ทุน และทุนละ 2,000 บาท 2 ทุน และเป็นโอกาสเดียวกับที่มีการจัดกิจกรรมเข้าค่ายของนิสิตนักศึกษาทุนมูลนิธิ พระพิฆเนศ จำนวน 69 คนด้วย

ส่วน การมอบทุนการศึกษาประจำปีปรกติ มีนักเรียนและนักศึกษาเข้ารับทุนการศึกษา จำนวน 225 ทุนแบ่งเป็นระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1-5 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 157 ทุน และทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับอุดมศึกษา รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 69 ทุน นอกจากนั้นยังได้มอบเป็นเงินทุนเฉพาะกิจแก่องค์กรและบุคคลอีก รวมเป็นเงิน 65,000 บาท

ใน ปีพุทธศักราช 2543 ทางมูลนิธิฯ ได้ดำเนินการมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนในจังหวัดลพบุรีต่อเนื่อง เป็นปีที่ 2 แบ่งเป็นทุนละ 1,000 บาท จำนวน 98 ทุนทุนสำหรับพระภิกษุ-สามเณร ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 5 ทุน ทุนกรณีพิเศษ ทุนละ 2,000 บาท จำนวน 1 ทุน และทุนละ 1,000 บาท จำนวน 1 ทุน

ด้าน การมอบทุนการศึกษาประจำปีตามปรกติ มีนักเรียนและนักศึกษาเข้ารับทุนการศึกษา จำนวน 210 ทุน แบ่งเป็นทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 122 ทุน ทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับอุดมศึกษา รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 6 ทุน และผู้รับทุนรายใหม่ ระดับมัธยมศึกษา ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 26 ทุน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. ) ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 12 ทุน และระดับอุดมศึกษา ทุนละ 5,000 บาท จำนวน 13 ทุน นอกจากนั้นยังได้มอบเป็นเงินทุนเฉพาะกิจแก่องค์กรและบุคคล จำนวน 31 ทุน เป็นเงิน 129,000 บาท

สำหรับ ปีที่ผ่านมา คือ ปีพุทธศักราช 2544 มูลนิธิฯ ยังคงมอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนในจังหวัดลพบุรี ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 แบ่งเป็นทุนละ 1,000 บาท จำนวน 118 ทุน ทุนสำหรับพระภิกษุ-สามเณรทุนละ 3,000 บาท จำนวน 3 ทุน ทุนกรณีพิเศษ ทุนละ 2,000 บาท จำนวน 1 ทุน และทุนละ 1,000 บาทจำนวน 1 ทุน รวมเป็นเงิน 130,000 บาท ในโอกาสเดียวกันได้มีการจัดกิจกรรมเข่าค่ายของนิสิตนักศึกษาทุนมูลนิธิพระ พิฆเนศ เป็นปีที่ 2 ส่วนการอบทุนการศึกษาประจำปีตามปรกติ มีนักเรียนและนักศึกษา เข้ารับทุนการศึกษา จำนวน 163 ทุน แบ่งเป็นทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 107 ทุน ทุนการศึกษาต่อเนื่องระดับอุดมศึกษา รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 2 ทุน ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. ) และระดับอุดมศึกษา รับต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 ทุนละ 7,000 บาท จำนวน 22 ทุน และ ผู้รับทุนรายใหม่ ระดับอุดมศึกษา ทุนละ 5,000 บาท จำนวน 21 ทุน นอกจากนั้นยังได้มอบเป็นเงินทุนเฉพาะกิจแก่องค์กรและบุคคล จำนวน 16 ทุน 58,000 บาท

ล่วง มาถึงปีพุทธศักราช 2545 นี้ มูลนิธิฯ ได้มอบทุนการศึกษาแก่นักเรียนในจังหวัดลพบุรี ต่อเนื่องเป็นปีที่ 4 รวมจำนวน 122 ทุนเป็นเงิน 161,000 บาท สำหรับการมอบทุนการศึกษาประจำปีตามปรกติ มีนักเรียนและนักศึกษาเข้ารับทุนการศึกษา จำนวน 152 ทุนรวมเป็นเงิน 701,000 บาท แบ่งเป็นทุนกรณีพิเศษต่อเนื่อง 11 ทุน ทุนต่อเนื่องทุกระดับ 123 ทุน ผู้รับทุนรายใหม่ ระดับอุดมศึกษา 14 ทุน และทุนกรณีพิเศษต่อเนื่อง 4 ทุน ประกอบด้วย ทุนระดับอุดมศึกษา รับทุนต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 ทุนละ 5,000 บาท จำนวน 4 ทุน ระดับอุดมศึกษาปีที่ 1 รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2538 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 ทุนละ 5,000 บาท จำนวน 11 ทุน ระดับมัธยมศึกษาปีที 6 และนักเรียนเตรียมทหาร โรงเรียนเตรียมทหาร รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2538 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 8 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 2 ทุน นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 รับทุนการศึกษา ตั้งแต่ปี 2539 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 7 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 26 ทุน นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 6 รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2540 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 6 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 26 ทุน

นัก เรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2541 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 5 ทุน นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 5 จากโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ( มัธยมศึกษาส่วนกลาง ) รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2541 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 7 ทุน นักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2543 ต่อเนื่องเป็นปีที่ 3 ทุนละ 3,000 บาท จำนวน 11 ทุน ทุนการศึกษาระดับอุดมศึกษาปีที่ 2 เริ่มรับทุนการศึกษาปี 2545 ทุนละ 5,00 บาท จำนวน 14 ทุน ทุนการศึกษาระดับอุดมศึกษาปีที่ 3 รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2544 ทุนละ 7,000 บาท จำนวน 15 ทุน นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ( ปวส. ) ศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา รับทุนการศึกษาตั้งแต่ปี 2543 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 4 ทุน และทุนการศึกษาระดับอุดมศึกษาปีที่ 4 รับทุน การศึกษาตั้งแต่ปี 2543 ทุนละ 10,000 บาท จำนวน 12 ทุน นอกจากนั้นยังได้มอบเป็นเงินทุนการศึกษา( กรณีพิเศษ ) จำนวน 15 ทุน เป็นเงิน 60,000 บาท

ใน ช่วงที่ผ่านมา นอกจากกิจกรรมดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ทางมูลนิธิฯ ยังได้ดำเนินการและร่วมมือกับองค์กรการกุศลอื่นๆ ทำกิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรม การสังคมสงเคราะห์และสาธารณประโยชน์อื่นๆ ด้วย เช่น การจัดให้มีพระธรรมเทศนาและการปฏิบัติธรรมทุกวันธรรมสวนะ ณ สำนักงานมูลนิธิพระพิฆเนศ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศลเนื่องในวโรกาสที่ พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงครองราชย์เป็นปีที่ 50 การจัดให้มีธรรมเทศนา ณ สำนักงานมูลนิธิฯ ทุกวันพระตลอดช่วงเข้าพรรษา การจัดทำบุญและจัดกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันพ่อ 5 ธันวามหาราช ร่วมกับชาวชุมชนตรอกนาวา และชุมชนโบสถ์พราหมณ์ เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล การสนับสนุนการจัดกิจกรรมด้านวัฒนธรรมของสมาคมนักกลอนแห่งประเทศไทย เพื่ออนุรักษ์งานด้านวรรณศิลป์และคีตศิลป์ การสนับสนุนเยาว์ชนให้เล่นกีฬาเพื่อต้ายยาเสพติด และการให้ความช่วยเหลือผู้เดือดร้อนกรณีประสบสาธารณภัยต่างๆเป็นต้น

และ สำหรับปีพุทธศักราช 2545 นี้มูลนิธิฯ ยังได้จัดสร้างสิ่งอันเป็นมหามงคล คือ พระมหาเทพ 7 พระองค์ เพื่อให้ผู้มีจิตศรัทธานำไปบูชาเพื่อความเจริญก้าวหน้า ความสุข ความสำเร็จแก่ตนเองและครอบครัวด้วย ทั้งได้จัดพิมพ์หนังสือเกี่ยวกับพระมหาเทพทั้ง 7 พระองค์ ประวัติศาสนาพราหมณ์ ตลอดจนความเป็นมาของพราหมณ์ในประเทศไทยออกเผยแพร่เป็นวิทยาทานไปทั่วประเทศ มิใช่เพียงเท่านั้น หากยังได้ทูลเกล้าฯ ถวายเป็นเงินจำนวน 1,000,000 บาท สมทบในกองทุน ช่วยลดการติดเอดส์จากแม่สู่ลูกในพระอุปถัมภ์ของพระเจ้าวรวงษ์เธอ พระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาทินัดดามาตุ อีกด้วย

มูลนิธิพระพิฆเนศจะดำรงความมุ่งมั่นในการดำเนินงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ ตามที่ตั้งไว้ต่อไป
โดยเฉพาะในการช่วยเหลือเด็กยากจน ให้มีโอกาสได้พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
เพื่อพวกเขาจะได้ไม่ตกเป็นทาสของยาเสพติดและจะได้เป็นกำลังสำคัญของประเทศ ชาติในอนาคตสืบไป


(พราหมณ์ขจร นาคะเวทิน)
ผู้ก่อตั้งและประธานมูลนิธิพระพิฆเนศ

ที่ปรึกษากิติมศักดิ์เว็บไซต์สยามคเณศ

มูลนิธิพระพิฆเนศ
เว็บไซต์สยามคเณศ อันเป็นเว็บไซต์อิสระ เรายินดีสนับสนุนกิจกรรมของ "มูลนิธิพระพิฆเนศ"
ซึ่งก่อตั้งโดย พระครูญาณสยมภูว์ หรือ พราหมณ์ขจร นาคะเวทิน (กองพระราชพิธี สำนักพระราชวัง)
ข่าวสารกิจกรรมการกุศลของมูลนิธิฯ สามารถติดตามได้ในเว็บไซต์ siamganesh นี้ครับ
- สารจากผู้ก่อตั้งมูลนิธิพระพิฆเนศ (พราหมณ์ขจร) - ความเป็นมาของมูลนิธิพระพิฆเนศ
- ก่อนจะถึงวันนี้..มูลนิธิพระพิฆเนศ - ประชาสัมพันธ์พิธีบูชาเทพนพเคราะห์

เว็บไซต์ siamganesh อันเป็นแหล่งความรู้เรื่องศาสนาพราหมณ์
ขอสนับสนุนกิจกรรมการกุศลของมูลนิธิพระพิฆเนศ
เว็บไซต์สยามคเณศ
www.siamganesh.com
มูลนิธิพระพิฆเนศ
103/2-3 ตรอกนาวา ถนนดินสอ
แขวงเสาชิงช้า เขตพระนคร กทม. 10200
กลับไปหน้าแรก สยามคเนศ ความรู้การบูชาองค์เทพ
พระศิวะ (พระอิศวร) พระวิษณุ (พระนารายณ์)
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระคเณศ ศาสนาพราหมณ์


---------------- อ่านเรื่ององค์เทพเพิ่มเติม ----------------
หน้าแรก-องค์เทพ (สยามคเณศ)
ศาสนาพราหมณ์ ศาสนาฮินดู เทพเจ้าอินเดีย
พระพรหม ท้าวมหาพรหม พระพรหมเอราวัณ ศาลพระพรหม
, พระวิษณุ พระนารายณ์ พระนารายณ์ทรงครุฑ
นารายณ์ทรงสุบรรณ คาถาบูชาพระนารายณ์สิบปาง

, พระศิวะ พระอิศวร , พระราม รามเกียรติ์ รามายณะ ,
พระกฤษณะ ภควัทคีตา มหาภารตะ ,
ครุฑ พระยาครุฑ พญาครุฑ
วิธีไหว้พญาครุท ตำนานพญาครุท บทบูชาพญาครุท
,
พญานาค พระยานาค วิธีบูชาพญานาค การไหว้พญานาค

พระแม่อุมาเทวี เจ้าแม่อุมาเทวี , พระแม่กาลี เจ้าแม่กาลี ,
พระแม่ทุรคา เจ้าแม่ทุรกา , พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
พระแม่ลักษมี เจ้าแม่รัศมี พระนางลักษมี พระลักษมี ,
พระแม่สรัสวตี พระสรัสวดี พระแม่สุรัสวตี พระสุรัสวดี ,
พระขันทกุมาร การบูชาพระขันธกุมาร ,
หนุมาน พระหนุมาน องค์หนุมาน การไหว้หนุมาน ,
พระอินทร์ พระอินทร์ทรงช้างเอราวัณ

ท้าวจตุโลกบาล - เทพผู้รักษาประจำทิศ เทพประจำทิศ ,
ท้าวเวสสุวัณ ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวกุเวร
พระแม่คงคา แม่น้ำคงคา เมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
, พระแม่ธรณี , พระแม่โพสพ

--------- สถานที่ ศาล เทวาลัย เพื่อกราบไหว้ขอพรองค์เทพ ---------
วัดเทพมณเฑียร วัดเทพมณเทียร , เทวสถานโบสถ์พราหมณ์ เสาชิงช้า
, วัดวิษณุ ยานนาวา , พิพิธภัณฑ์พระพิฆเนศ พิพิธภัณฑ์พระพิฆเณศวร์ เชียงใหม่
,
ศาลพระพิฆเนศห้วยขวาง พระพิฆเณศสี่แยกห้วยขวางรัชดาภิเษก , เสาชิงช้า
,
พระพิฆเนศนครนายก พระพิฆเณศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางนั่ง-ปูนปั้น)
,
พระพิฆเนศฉะเชิงเทรา พระพิฆเนศที่ใหญ่ที่สุดในโลก (ปางยืน-สำริด)
วัดพระศรีมหาอุมาเทวี สีลม วัดแขกสีลม นวราตรี งานนวราตรี
เมืองโบราณ สมุทรปราการ , พิพิธภัณฑ์ช้างสามเศียร ช้างเอราวัณ สมุทรปราการ
ช้าง 3 เศียร พิพิธภัณฑ์ช้าง 3 เศียร จังหวัดสมุทรปราการ

- พระพิฆเนศ ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเณศ วัดสมาน จ.ฉะเชิงเทรา
- พระพิฆเนศวร ฉะเชิงเทรา องค์พระพิฆเนศ พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ ที่วัดสมานรัตนาราม จังหวัดฉะเชิงเทรา
- ศาลท้าวมหาพรหมเอราวัณ พระพรหมเอราวัณ แยกราชประสงค์
- พระพิฆเนศที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่อินเดีย อัสตะวินายัก พระพิฆเนศกำเนิดตามธรรมชาติ 8 แห่ง
- รวมรูปองค์เทพ | - รวมสถานที่บูชาองค์เทพ | - รวมความรู้การบูชาองค์เทพ

โครงการ "พันเทวาลัย ล้านศรัทธา"
รวมสถานที่สักการะเทพเจ้าของพราหมณ์ฮินดูทั่วประเทศไทย

ศาลพระพิฆเณศวร์ เทวาลัยพระศิวะ วัดแขก โบสถ์พราหมณ์ เทวสถาน | เทวาลัยพระวิษณุ ศาลพระพรหม วัดแขก พระแม่อุมาเทวี

----------------- เทศกาล งานสำคัญต่างๆ -----------------
- "คเณศจตุรถี" งานแห่พระพิฆเณศวร์ วันคเณศจตุรถี วันประสูติพระพิฆเนศวร์
- "นวราตรี" งานวัดแขก งานแห่พระแม่อุมาเทวี ร่างทรงพระแม่อุมา งานนวราตรี
- "มหาศิวราตรี" เทศกาลมหาศิวาราตรี วันบูชาพระศิวะในงานมหาศิวะราตรี
- "ดีปาวลี" ดีวาลี่ ทีปาวาลี เทศกาลดีปาวาลี งานบูชาพระแม่ลักษมีในงานดีปาวรี
- "พระราชพิธีตรียัมปวาย" งานตรียัมปวาย งานประจำปี เทวสถานโบสถ์พราหมณ์
- โบสถ์พราหมณ์ การเดินทางไปโบสถ์พราหม์ แผนที่โบสถ์พราห์ม
, พระราชพิธีแรกนาขวัญ งานแรกนาขวัญ

[ การบูชาเทพเจ้า ]
- รวมบทสวดมนต์บูชาพระพิฆเนศวร
คาถาบูชาพระพิฆเณศวร์ การไหว้องค์เทพ บูชาเทพ วิธีบูชาองค์เทพ


- ความเข้าใจผิดๆเกี่ยวกับการบูชาเทพ การไหว้เทพฮินดู
- เครื่องหมายโอม...สัญลักษณ์โอม และวิธีการสวดบูชา | - เครื่องหมายสวัสดิกะ...สัญลักษณ์สวัสติกะแห่งพระพิฆเนศ

- สิ่งที่ควรรู้สั้นๆ เกี่ยวกับพระพิฆเนศ การบูชาพระพิฆเณศวร์ | - ตำนานกำเนิดพระพิฆเนศ ประวัติพระพิฆเณศ
- ตำนานว่าด้วยเศียรช้าง งาข้างเดียว และหนูบริวารของพระพิฆเนศ
- ตำนานองค์พระพิฆเนศในเอเชียแปซิฟิก | - ตำนานองค์พระพิฆเนศในประเทศไทย
- พระคเณศ ในฐานะเทพแห่งปัญญาและความรู้ | - พระพิฆเณศในฐานะหัวหน้าบริวารของพระศิวะ
- พรที่พระพิฆเนศได้รับจากมหาเทพ-มหาเทวี | - อานิสงค์จากการบูชาพระพิฆเนศ การขอพรพระพิฆเนศ
- คเณศจตุรถี...วันประสูตรพระพิฆเนศ วันคเนศจตุรถี เทศกาลพระพิฆเนศ งานแห่พระพิฆเณศวัดแขก

- การบูชาพระแม่กาลี (ตามวิธีของ อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย สำนักพิมพ์สยามคเณศ)
- บทสรรเสริญพระศิวะ ผู้คืออักขระ 5 ตัว บทสวดพระศิวะมหาเทพ | - พระแม่ลักษมี 8 ปาง การบูชาพระแม่ลักษมี
- พญาครุฑ การบูชาพญาครุฑ องค์พญาครุฑ | - พญานาค การบูชาองค์พญานาค | - ท้าวเวสสุวรรณ ท้าวเวสสุวัณ ท้าวจตุโลกบาล
- รูปพระแม่อุมาเทวี องค์พระแม่อุมาเทวี พระศรีมหาอุมาเทวี การบูชาพระแม่อุมาเทวี | - องค์พระตรีมูรติ การบูชาพระตรีมูรติ
- พระวิษณุ หรือ พระนารายณ์ การบูชาพระวิษณุ องค์พระวิษณุ ปางของพระวิษณุ | - องค์พระแม่ลักษมี รูปพระแม่ลักษมี

- ตำนานพระสีวลี ผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - พระสีวลีผู้เป็นเลิศในลาภสักการะ | - การบูชาพระสีวลี การขอพรพระสีวลี
- การกำเนิดพระสีวลี โดยการทรงประทานพรของพระพุทธเจ้า | - พระสีวลี หรือ พระสิวลีพระอรหันต์ผู้มีลาภสักการะเป็นที่สุด
- ตำนานพระสีวลี พระสิวลี พระสีวะลี ตำนานกำเนิดพระสีวลี
- พระเกจิ ประวัติพระสงฆ์ หลวงพ่อจรัญ | - การเดินทางไปวัด ขอพรหลวงพ่อ วัดในจังหวัดต่างๆ
- เจ้าแม่กวนอิม องค์เจ้าแม่กวนอิม การบูชาเจ้าแม่กวนอิม พระแม่กวนอิมปางต่างๆ

[ พระศิวะมหาเทพ ]
1. ตำนานพระศิวะ | 2. รูปลักษณ์ แห่งพระศิวะ วิธีบูชาพระศิวะมหาเทพ  |  3. เมล็ดรุทรักษะ เมล็ดน้ำตาพระศิวะ
4. โคนนทิ พาหนะแห่งพระศิวะ สัตว์ศักดิ์สิทธิ์  |  5. ศิวะนาฏราช พระศิวะร่ายรำ ปางของพระศิวะ
6. ศิวลึงก์ สัญลักษณ์แทนองค์พระศิวะ การบูชาศิวลึงค์  |  7. คาถา บทสวดมนต์ การบูชาพระศิวะ

[ พระประจำวันเกิด , นวนพเคราะห์ ]
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอาทิตย์ พระประจำคนเกิดวันอาทิตย์ พระสุริยะเทพ (พระอาทิตย์)
พระประจำวันเกิด พระประจำวันจันทร์ พระประจำคนเกิดวันจันทร์ พระจันทร์ 
พระประจำวันเกิด พระประจำวันอังคาร พระประจำคนเกิดวันอังคาร พระอังคาร ,
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพุธ พระประจำคนเกิดวันพุธกลางวัน พระพุธ
พระราหู การไหว้พระราหู วิธีบูชาพระราหู คาถาบูชาพระราหู พระประจำวันเกิด พระประจำคนเกิดวันพุธกลางคืน
พระประจำวันเกิด พระประจำวันพฤหัสบดี พระประจำคนเกิดวันพฤหัสบดี พระพฤหัสบดี
พระประจำวันเกิด พระประจำวันศุกร์ พระศุกร์  , พระประจำวันเสาร์ พระประจำวันเกิด พระเสาร์ , พระเกตุ

รวมโองการเชิญเทพ / บทไหว้ครู / กลอนไหว้ครูของไทย
สำหรับผู้ศรัทธาในเทพทุกระดับชั้น เพื่อการบวงสรวงบูชาเทพในพิธีอันเป็นสิริมงคลต่างๆ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ ขอพรพระคเณศ
โองการเชิญเทพ - พระราชนิพนธ์ บทเสมาสามัคคีเสวก
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 1
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 2
เชิญเทพ โดย ขุนสารประเสริฐ 3
นมัสการเทพ (สามัคคีประเภทคำฉันท์)
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 1
เชิญเทพ - กรมพระยาเดชาดิศรฯ 2
เชิญเทพ - ร.6 (เสื้อเมือง หลักเมือง)
เชิญเทพ - รัชกาลที่ 6 (ทวยเทพ)
โองการเชิญเทพ - บวงสรวงท้าวโลกบาล
บทอัญเชิญเทพประจำเมือง



อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ และ นักเขียนหนังสือองค์เทพ







อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ
เจ้าของเว็บไซต์สยามคเณศ Siamganesh.com
ผู้เผยแพร่ความรู้ในการบูชาองค์เทพคนสำคัญของไทย

สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่




สั่งซื้อหนังสือ คลิกที่นี่









สั่งซื้อหนังสือ
ผลงาน อ.พิทักษ์ โค้ววันชัย
คลิกที่นี่



ติดต่อสยามคเณศได้ที่ siamganesh@gmail.com
Facebook : สยามคเณศดอทคอม
Facebook : มหาบูชา
ขออำนาจแห่งพระพิฆเนศวรโปรดดลบันดาลให้ท่านทั้งหลายล้วนประสบแต่ความสำเร็จในทุกๆประการด้วยเทอญ
สงวนลิขสิทธิ์ SiamGanesh.com, All Rights Reserved.